เชือกปีนเขา

เชือกปีนเขา ใช้ทำประโยชน์อะไรได้บ้าง? ถ้ายังไม่รู้ที่นี่มีคำตอบ

เชือกปีนเขา กับความเป็นมาของการปีนหน้าผา ในประเทศไทย

เชือกปีนเขา อันที่จริงการปีนผาในประเทศของเรา ก็เป็นกีฬาที่ได้รับความนิยมกัน มาอย่างต่อเนื่อง ซึ่งน่าจะเป็นเพราะอิทธิพล จากต่างประเทศนั่นแหละ ที่ต่างก็พยายามแสวงหา พวกสถานที่ใหม่ๆ เพื่อเพิ่มท้าทายไปพร้อมๆ กับความตื่นเต้นในรูปแบบอื่น ที่ไม่เหมือนเดิม

ทำให้ประเทศของเรา ก็เลยกลายเป็นตัวเลือก ที่จะได้เข้ามาเล่นกีฬาชนิดนี้ ซึ่งวันนี้เราจะได้พูดเกี่ยวกับ กีฬาปีนผาในบ้านเรา กันสักนิดหน่อยครับ

ถ้าหากว่าเราย้อนกลับไปตั้งแต่ปี 1980 ที่ตอนนั้นมีกลุ่ม ของนักปีเขาที่มาจากต่างประเทศ ทั้งสหรัฐอเมริกาและยุโรป เดินทางเข้ามาเพื่อพิชิต ผาหินปูที่สูงตระหง่านของหาดไร่เลย์ ด้วยเพราะว่าที่นั่น เป็นหน้าผาที่สูงชัน แถมมีน้ำทะเลสีฟ้าคราม ภูมิประเทศมีความสวยงามอย่างมาก

พอหลายๆ ปีผ่านไปที่นี่ก็เลยกลายเป็น ชุมชนของการปีนผา และเป็นที่รู้จักมากยิ่งขึ้น ทำให้มีนักปืนผา เดินทางเพื่อเข้ามา เพื่อเล่นกีฬาชนิดนี้กันโดยเฉพาะ

 สำหรับประเภทของ เชือกปีนเขา กับการปืนผา ที่นิยมในบ้านเรา

เชือกปีนเขา

เพราะว่ากีฬาปีนผา ถือได้ว่าเป็นเกมกีฬาที่รวมไว้ ทั้งความตื่นเต้นและท้าทายอย่างมาก ทำให้นักกีฬาจะต้องรู้จัก และเข้าใจดีเกี่ยวกับ อุปกรณ์และพวกเทคนิคต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้อง และการปีนผาก็จะมีอยู่มากมาย ในหลายประเภทอีกด้วย

ซึ่งวันนี้เราจะมาพูดกันแค่ 3 ประเภทหลัก ๆ เท่านั้นนะครับ

1. Bouldering Boulering สำหรับแบบนี้คือ การปีนผาที่เริ่มไต่ จากก้อนหินแบบเตี้ย ๆ ที่ปกติก็จะมีความสูงที่ไม่เกิน 20 ฟุตเท่านั้น ซึ่งการปีผาแบบนี้ ไม่มีความจำเป็นที่จะต้องใช้เชือก เพราะว่าพวกนักปีเขา สามารถปีนจากพื้นที่ในระยะสั้นๆ ส่วนใหญ่ก็มักจะพึ่งพา พวกตัวกันกระแทกเท่านั้น

ซึ่งโดยทั่วไปการไต่แบบนี้ จะมีหินแค่เล็กๆสั้นๆ ซึ่งแน่นอนว่าเป็นการปีน ที่ยากกว่าการปีนประเภทอื่นๆ และการปีนแบบนี้ จะต้องใช้ความแข็งแกร่งของร่างกาย พร้อมทั้งการทรงตัว รวมไปถึงจะต้องมี สกิลในเรื่องของการแก้ปัญหา

ซึ่งพวกนักปีนเขา จะเข้าใจกันดีว่า นี่คือเส้นทางที่ท้าทายอย่างมาก เพราะด้วยการยึดเกาะที่ยาก แถมเคลื่อนไหวก็ไม่สะดวกอีกด้วย

2. การปืนด้วยเชือก และการปีนเขาแบบนี้ เรามักจะเห็นว่ามีนักปีนเขาจำนวนมาก ชอบที่จะใช้วิธีการปีน แบบนี้มากที่สุด ซึ่งปกติเราจะเห็นกัน แค่ในโรงยิมเท่านั้น เพราะว่าจะมีจุดที่ยึดเกาะแบบถาวร

โดยทั่วไปนักปีนเขา มักจะผูกตัวติดไว้กับเชือก ที่พาดผ่านรอกด้านบนและลงไป ที่ผู้บังคับที่ภาคพื้นดิน และผู้ที่มีหน้าที่บังคับเชือก ก็จะเป็นผู้ที่มีหน้าที่จัดการเชือก และความปลอดภัยของนักปีนเขา ในกรณีอาจจะมีความผิดพลาด เกิดขึ้นกับนักปีนเขา

ประเภทแบบนี้จะมีความยากกว่า วิธีการแรกแบบที่มีหิน เพราะว่าต้องใช้ความอดทนที่สูงมากกว่า แถมยังต้องมีทักษะ และความเชี่ยวชาญที่มากกว่า โดยเฉพาะเกี่ยวกับการผูกเงื่อนๆ ต่างๆ อีกด้วย

3. การปีนผาตะกั่ว การปีนผาแบบนี้เรามักจะทราบกันดี ว่าเป็นความก้าวหน้าที่สุด ของการปีนผาเลยทีเดียว ที่มักจะกระทำกันกลางแจ้ง และไม่ได้มีอะไร ที่เป็นจุดยึดไว้ล่วงหน้าเลย ซึ่งนักปีนผาจะต้องหาทาง ที่จะวางเครื่องป้องกันด้วยตัวเอง

ตัวอย่างเช่นพวกลูกเบี้ยว หรืออุปกรณ์อื่นๆ ที่จำเป็นในขณะที่ต้องปีน ซึ่งบางครั้งเชือกก็จะเป็นอุปกรณ์ชั้นดี ที่จะพาให้พวกเขาสามารถ ปืนขึ้นไปได้โดยที่จะไม่ทำให้ ต้องพลัดตกลงมา

การปีนประเภทนี้เอง ทำให้ต้องมีทักษะเรื่องการปีนเขา ในระดับที่สูงและยิ่งต้องรู้จัก พวกอุปกรณ์และตัวช่วยชีวิตต่างๆ พร้อมทั้งต้องมีสติและประสบการณ์ การประเมินคุณภาพของหิน และมีประสบการณ์ที่จะเลือก วิธีการป้องกันที่เหมาะสมที่สุด สำหรับตัวเองอยู่ตลอดเวลา

การปีนเขาด้วยอุปกรณ์ ที่สำคัญบางอย่างก็เลยเป็นสิ่ง ที่สำคัญอย่างมาก

เชือกปีนเขา

และการปีนเขาด้วยการใช้เชือก ถือว่าเป็นรูปแบบยอดนิยม ที่นักปีนเขาทุกเพศทุกวัย รวมไปถึงพวกทุกระดับของความสามารถ ก็จะมีความชื่นชอบ และยังเป็นประเภท ที่มีการพบเห็นบ่อยมากที่สุด ซึ่งวันนี้เราจะมาดูกัน ว่าเชือกจะเป็นอุปกรณ์ ที่น่าสนใจอย่างไร

ซึ่งไม่ใช่แค่มีเชือกเท่านั้น ที่จะได้มาเป็น อุปกรณ์เอ็กตรีม ในการปีนเขาแต่ยังจะต้องมี อุปกรณ์เสริมอย่างอื่น ซึ่งจะมีอะไรกันบ้าง เราไปดูกันเลยครับ

1. เชือกใช้ปีนเขา ซึ่งก็จะมีชื่อว่า dynamic rope เชือกชนิดนี้มีไว้เพื่อยึดนักปีนเขา ไว้กับสมอที่อยู่ด้านบนสุด ซึ่งจะปล่อยชายไว้ตลอดเส้นทาง ปกติแล้วก็จะมีความยาวกันอยู่ที่ 60 – 70 เมตร เป็นเชือกที่ถูกออกแบบมา เพื่อให้รับน้ำหนักได้ระดับสูง

2. สายรัด เป็นอุปกรณ์เสริม ที่ต้องมากับเชือกที่เราใช้ปีนเขา เพราะว่าจะเป็นตัวยึดเชือก ให้อยู่ติดกับตัวของนักปีนเขา

3. รองเท้าปีนเขา คืออีกสิ่งที่จำเป็นด้วยเช่นกัน เพราะว่าจะมาเป็นตัวช่วย เพื่อให้เกิดการยึดเกาะ ได้เป็นอย่างดี

4. หมวกกันน๊อค ซึ่งก็มีความจำเป็น ไม่ได้แพ้เชือกเลยทีเดียว เพราะว่ามันจะเป็นตัวป้องกัน ไม่ให้ศีรษะโขก หรือเกี่ยวเข้ากับโขดหิน

5. Belay สำหรับเจ้าตัวนี้ มีหน้าที่เป็นตัวจัดการเชือก และให้การควบคุมการลงไป สู่พื้นล่างได้แบบสมบูรณ์ที่สุด

อุปกรณ์จำเป็นบางอย่าง ที่นักปีนเขาไม่ควรละเลย ที่เราอาจจะต้องใส่ใจว่าควรเลือก เชือกปีนเขาแบบไหนดี

เชือกปีนเขา

และเมื่อเราได้รู้จักว่าอุปกรณ์ ผา จำลอง และผาธรรมชาติแต่ละอย่าง มีความสำคัญอย่างไรกันแล้ว ทีนี้เราก็มาดูกันครับ ว่ามีตัวไหนบ้างที่เหมาะสม กับตัวเรามากที่สุด และบางอย่างก็มีความแตกต่างกันออกไป แต่ถ้าหากว่าเราต้องการ ความปลอดภัยในระดับที่สูง ก็ไม่ควรละเลยรายละเอียดของ อุปกรณ์ เซฟตี้ เหล่านี้

1. สำหรับรองเท้าปีนเขา สิ่งนี้ถือว่าเป็นความจำเป็น ในอันดับต้นๆ เพราะว่าถูกออกแบบมา เพื่อให้เกิดการยึดเกาะ และยังรองรับพื้นผิวของหิน ได้อย่างดีเยี่ยม ซึ่งส่วนใหญ่ก็มักจะทำ มาจากวัสดุที่มีความทนทานสูง และยังมีดีไซน์ที่ทำให้เกิด ความกระชับและพอดีกับเท้า แถมยังจะต้องเป็นตัวช่วย เรื่องการเคลื่อนไหวได้เป็นอย่างดี

2. สายรัดปีนเขา อย่างที่ได้บอกไปแล้วว่าเจ้าสายรัดเป็น อุปกรณ์ เสริมของเชือกใช้ปีนเขา เพราะว่ามันถูกออกแบบมา ให้รัดไปที่รอบเอวและส่วนของต้นขา เพื่อจะได้เกิดการกระจายน้ำหนัก จะได้ไม่เกิดการเสียดสี ในขณะที่คุณกำลังปีนเขา

3. เชือกใช้ปีนเขา ที่มีให้เลือกหลายแบบอย่าง เชือกปีนเขา 12 มิล เป็นส่วนที่มาช่วยเรื่อง พลัดตกหรือหลุดออกจากที่ยึดเกาะ ซึ่งก็จะแบ่งออกเป็น แบบไดนามิกและคงที่ ซึ่งเราจะเห็นบ่อยๆ ว่าเป็นอีกหนึ่งอย่างที่ใช้ร่วมกันกับ อุปกรณ์ดำน้ำลึก

4. คาราบิเนอร์ เป็นอีกตัวที่ติดเข้ากับ เชือกและตัวสายรัด ซึ่งก็จะมีรูปร่างที่แตกต่างกันออกไป คือจะใช้งานตามความเหมาะสมเท่านั้น

5.ถุงชอล์ก เป็นอีกหนึ่งของอุปกรณ์ ที่มาช่วยไม่ให้มือของเราลื่นมากเกินไป ซึ่งตัวถุงชอล์กก็จะมีทั้งรูปร่าง และขนาดที่แตกต่างกันออกไปอีกด้วย แล้วแต่ความเหมาะสม

เชือกปีนเขา pantip เป็นอีกอุปกรณ์สำคัญ ในการทำกิจกรรมปีนเขา

อุปกรณ์ เซฟตี้

ซึ่งไม่ว่าคุณจะมีความต้องการ เพื่อการปีนเขาหรือว่าเพื่อใช้ในการสำรวจ อย่างพวกหน้าผาสูง หรือทำการกู้ภัยต่างๆ ซึ่งปกติแล้วมักจะถูกผลิตมา จากพวกเส้นใยอย่าง ไนลอน โพลีเอสเตอร์ และโพลีโพรพีลีนซึ่งมักจะมีขนาด เชือกปีนเขา 14 มิล

1. เชือกไดนามิก แบบนี้เขาผลิตมาเพื่อ ให้เกิดการดูดซับพลังงาน ของการยืดและหดได้เป็นอย่างดี ปกติก็มักจะใช้เพื่อ การปีนหน้าผาโดยเฉพาะ เพราะว่าเชือกไดนามิก มักจะมีปลอกหุ้มที่มีความหนามากยิ่งขึ้น ซึ่งบางเส้นอาจจะเทียบเท่ากับ เชือกปีนเขา 16 มิล เลยทีเดียว

เพราะต้องการลดการเสียดสี แต่แค่เชือกที่มีขนาดเล็กลง แต่ประสิทธิภาพยังคงเดิม สำหรับเรื่องความยาวและขนาดนั้น ก็ควรจะเลือกใช้เอาตามความเหมาะสม ของแต่ละประเภทของการใช้งาน รวมถึงน้ำหนักตัวของผู้ปีนเขา

2. เชือกแบบคงที่ แบบนี้ก็จะมีเพื่อใช้งานได้ตามที่ต้องการ เพราะว่าการยืดแค่เพียงเล็กน้อย หรือแบบไม่ต้องยืดเลยก็ได้ ปกติก็มักจะใช้เพื่อการโรยตัว หรือเพื่อการกู้ภัยเป็นหลัก ซึ่งมักจะมีความหนาและความแข็งมากกว่า เชือกไดนามิกนั่นเอง ซึ่งมีกันตั้งแต่ เชือกปีนเขา 8 มิล เลยทีเดียวครับ

3. เชือก Kernmantle สำหรับเชือกแบบนี้มักจะมี แกนถักที่เป็นเกลียว และมีเปลือกที่ป้องกัน เป็นเชือกอีกหนึ่งชนิด ที่คนปีนผามักจะใช้กัน เพราะว่ามันเป็นเชือกที่มีความสมดุล พร้อมทั้งแข็งแรง และความทนทานสูง รวมไปถึงมีความยืดหยุ่น ทำให้เชือกแบบนี้ ก็เลยมีโอกาสหักหรือว่างอได้น้อยกว่า เชือกแบบประเภทอื่นๆ นั่นเองครับ

และถ้าหากเราจะหาข้อสรุป ก็คือเชื่อกก็เลยกลายเป็น เครื่องมือที่ส่วนใหญ่ ที่ใช้ในกิจกรรมต่างๆ อย่างเช่นการปีนผา สำรวจถ้ำ หรือเพื่อการกู้ภัยต่างๆ ก็คงต้องยกให้เชือก ทั้งสามแบบที่เราได้นำมาเสนอ ให้กับทุกท่านได้ทราบกัน ในวันนี้เลยครับ

บางคนอาจจะยังไม่ทราบว่าเชือกปีนเขา ซื้อที่ไหน สามารถเลือกซื้อตามร้านขาย พวกอุปกรณ์กีฬา หรือร้านขายอุปกรณ์ปีเขาโดยเฉพาะ ซึ่งจะใช้งานได้ดีและ จะมีประสิทธิภาพที่สูงสุดได้อย่างไร ก็ต้องอยู่ที่ว่าใช้เหมาะสม กับแต่ละชนิดของเหตุการณ์ หรือไม่เท่านั้นเลยครับ

บทความพิเศษ

ร้านอาหารในสวน

นักกีฬาแบดมินตัน

มังงะ น่าอ่าน

—*—อ้ายตัวกลม